เมนู
ค้นหา

BAAC LIBRARY

หอสมุดธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

หน้าแรก » รายการเกร็ดน่ารู้ » รายละเอียดเกร็ดน่ารู้

เกร็ดน่ารู้ เรื่อง 7 ทักษะที่ซีอีโอยุคดิจิทัลต้องมี



tmp_20153004142927_1.jpg


                  โดย : ชนิตา ภระมรทัต

                  มี 7 ทักษะที่ ซี อีโอ PwCประเทศไทยฟนธงภายในงานเผยผลสํารวจ Global CEO Survey ซึ่งจัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ วาเปนทักษะที่ทําใหซีอีโอสามารถนําพาองค กรใหโลดแลนตอไดในโลกยุคดิจิ ทัลที่วากันวาการเปลี่ยนแปลงจะเร็วยิ่งกวาแสง

                  ศิระ อินทรกําธรชัย ประธานกรรมการบริหารและหุนสวนบริษัท PwC ประเทศไทย กลาววา สําหรับ 7  ทักษะที่จําเปนตอซี อีโอ  (ไทยและกลุ มประเทศอาเซียน) ประกอบดวย
                  1. ตองมองรอบดาน (Ability to see around corners) ตองรู ทัน รูรอบทั้งในธุรกิจตัวเองและธุรกิจคูแขง
                  2. ต องอดทน มุงมั่ นต ออนาคตที ่ ไมชัดเจน และหาความแนนอนไดยากขึ้น(Tolerance for ambiguity) ซีอีโอจึงยิ่ง ตองมีความอดทน และพรอมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นมาอยางตอเนื่อง
                  3. ตองมีความยืดหยุนในการตัดสินใจ (Agility in decision making) ตลอดจนเปดใจรับสิ่งใหมๆ หากพิจารณาวามันจะนําไปสูสิ่งที่ดีกวา
                  4. ตองปรับการทํางาน - ระบบการปฏิบัติการใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปเสมอ (Adaptability in execution)
                  5. ตองใชเทคโนโลยีใหเปน (At ease with technology) ซีอีโอยุคนี้ตองกาวใหทันเทคโนโลยีที่รุดหนาไปทุกๆ วินาที จําเปนตองมีวิสัยทัศนในการนําเอามันมาใชตอยอดทางธุรกิจ ขณะเดียวกันก็ตองสงเสริมใหองคกรมีความพรอม สงเสริมใหบุคลากรทุกคนมีความพรอม มีทักษะ โดยการสงเสริมฝกฝน ใหมีการใชเทคโนโลยีไดอยางมีประสิทธิภาพ
                  6. ตองสรางองคกรใหเต็มไปดวยทีม-บุคลากรที่ดีมีความสามารถ ( Surrounded by a great team) ซึ่งจะเกิดขึ้นไดก็ตองอาศัยทักษะขอสุดทาย นั่นคือ
                  7. ตองรูจักถอมตน (Humility) ซีอีโอยุคใหมจําเปนตองถอมตัว ถอมใจ พรอมจะเปนโรลโมเดลที่ดี  จูงใจผู้ใตบังคับบัญชาใหมารวมทํางานอยางเต็มความสามารถ เพื่อทําใหองคกรเขมแข็งและอยูรอดไดแมวาจะตองเผชิญกับอุปสรรคทาทายนานับประการ
                  ทั้งนี้  PwC ไดทําการสํารวจ Global CEO Survey มาอยางตอเนื่อง และเปนครั้งที่ 18 แลวในปนี้  ซึ่งครอบคลุมซีอีโอกวา  1300 ราย ภายใน 77 ประเทศทั่วโลก ใน  22 อุตสาหกรรมชั้นนํา มีสัดสวนซีอีโอชาย 93% และซีอีโอหญิง 7% โดยทําการสัมภาษณ ในรูปแบบที่หลากหลายทั้งออนไลน โทรศัพท และสัมภาษณตัวตอตัวและในการสํารวจนี้มีซีอีโอของประเทศกลุมอาเซียน 7 ประเทศ ไดแก กัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนสสิงคโปร ไทย เวียดนาม  จํานวน76 คน  ซึ่งพวกเขาทั้งมีมุมมองที่ คลายและแตกตางจากซีอีโอทั่วโลก ดังตอไปนี้

                  เรื่องของความเชื่อมั่นตอเศรษฐกิจโลกในปนี้ ซีอีโออาเซียนมองวาจะดีขึ้นตางไปจาก ซีอีโอทั่วโลกซึ่งมองวานาจะติดลบ และสอดคลองกับประมาณการณเศรษฐกิจอาเซียนของไอเอ็มเอฟที่มองวาการเติบโตของภูมิภาคอาเซียนจะรุง แตที่โดดเดนมากๆ ก็คือ CLMV หรือกัมพูชา ลาว พมา โดยเฉพาะเวียดนามที่กําลังเติบโตไลตามไทยตามมาแบบติดๆ

 

                  สําหรับปจจัยที่สงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกที่สรางกังวลใหกับซีอีโออาเซียน 3 อันดับแรก ก็คือ 
                  1.ความวุนวายทางการเมือง 
                  2. นโยบายการเก็บภาษีที่ทางภาครัฐพยายามเรงสรางประสิ ทธิภาพแตในเวลาเดียวกันกลับสรางกดดันทางเศรษฐกิจ 
                  3. กฎระเบียบเขมงวดเกินไป ทั้งจากภาครัฐและหนวยงานที่ กํากับดูแล ขณะที่ซี อีโอโลกกังวลในเรื่องตอไปนี้ 1. ความวุนวายในประเทศตะวันออกกลาง รวมถึงปญหาการสูรบในประเทศยูเครน  2. นโยบายการเงินในประเทศแกนนําของโลกซึ่งไมสอดคลองกัน และ 3.ความกังวลกับกลุมประเทศเกิดใหม ซึ่งคาดวาจะขยายตัวที่ชาลง
 
                  ในเรื่องของการเติบโตของรายไดขององคกร ขณะที่ซีอีโอทั่วโลกมองวารายไดจะไมเติบตัว เนื่องจากมีความความกังวลใน  4 เรื่องหลักๆ ไดแก  
                  1. กฎระเบียบที่เขมงวดมากเกินไปจากหนวยงานภาครัฐ และหนวยงานกํากับดูแล 
                  2. เรื่องการขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะ  
                  3. ภาระหนี้ขาดดุลการคลังในหลายๆ ประเทศ  
                  4. ความวุนวายทางการเมือง  รวมถึงการสูรบในตะวันออกกลาง
 
                  ตรงขามกับซีอีโออาเซียนที่มองบวกวาการเติบโตของรายไดองคกรจะเพิ่มขึ้น  อีกทั้งมีความเชื่อมั่นดวยวาในอีก 3 ปขางหนารายไดจะยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง แตเมื่อไดมองถึงโอกาสอุปสรรคแลว ซีอีโออาเซียน มีความกังวลในเรื่องของการแขงขันขามสายธุรกิจ เรื่องของการติดสินบน คอรัปชั่น และการขาดแคลนคน
 
                  "ในอนาคตขางหนาคูแขงธุรกิจจะไมจํากัดอยูภายในอุตสาหกรรมเดียวกันเทานั้น อาจมีการขามหวยมาแขงกับธุรกิจของเรา พูดถึงเมืองไทยเราปฏิเสธไมไดวา  ธุรกิจพลังงานทดแทนกําลังอยูในกระแส  ทุกคนตางใหความสนใจ หรือธุรกิจรับเหมา กอสรางเวลานี้ก็ผันตัวเองไปทําธุรกิจอสังหาริมทรัพยไปทําโรงแรม และลาสุดธุรกิจสื่อสิ่งพิมพกําลังผันตัวเองไปทําซูเปอรมารเก็ต ทุกวันนี้ธุรกิจผันตัวเองจากธุรกิจเดิม ไปยังธุรกิจอื่นเพื่อชวยขยายการเติบโตไดในอนาคต"

                  และมี 2 ธุรกิจที่ซีอีโออาเซียนกําลังจับตา เพราะมองวาจะกลายเปนคูแขงสําคัญในอนาคต นั่นคือ ธุรกิจ เทคโนโลยี โทรคมนาคม และธุรกิจคาปลีก คาสง เพราะสามารถนําเอาเทคโนโลยีไปตอยอดกระทั่งสามารถแขงขันไดในหลายธุรกิจ
 
                  ซีอีโออาเซียนมองวามีปจจัยสนับสนุนที่ชวยทําใหธุรกิจของพวกเขาไปตอไดอยู  2 ปจจัย ก็คือ 1. การหาพันธมิตรธุรกิจที่เปนกลุมผูผลิตและซัพพลายเออรตลอดจน เครือขายธุรกิจและองคกรการคาในประเทศนั้นๆ ที่จะเอื้อในการเขาถึงกลุมลูกคาใหมและตลาดใหม และ 2. การบริหารความหลากหลายของบุคลากร ซึ่งความกังวลของซีอีโออาเซียนตางจากซีอีโอโลกที่นอกจากทั้ง 2 ปจจัยแลว พวกเขามองวาเปนเรื่องเทคโนโลยี แถมยังมองเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดอีกดวย " ความกังวลของซีอีโอทั่วโลกที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง คือ ความขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะ ความสามารถการหาคนเกงเขามาอยูดวยวายากอยูแลว แตการทําใหเขาอยูกับเรายากยิ่งกวาองคกรตองมีความสามารถบริหารความหลากหลาย พนักงานตองมั่นใจวาผูบริหารดูแลใหความสําคัญและรับรูวาพนักงานทุกคนไมเหมือนกันมีความแตกตางและสามารถนําความแตกตางมาผสมผสาน จนกอใหเกิดประโยชนตอองคกร"

                  ถามวาผลสํารวจนี้จะสงกระตุนทําใหองคกรธุรกิจไทยเคลื่อนไหวไปในทิศทางใด  ศิระบอกวาสําหรับเขามองวาที่สําคัญมี อยู 3 เรื่องหลักๆ ไดแก  
                  1. Modernization  องคกรตองทําการปรับเปลี่ยนการทํางานใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด  
                  2. การนําเอาเทคโนโลยี ดิจิทัลมาเปนสวนหนึ่งของแผนกลยุทธ เพราะธุรกิจไหนที่มองไมเห็นความสําคัญในเรื่องนี้บอกไดเลยวาอยูไดยาก เพราะในไมชาการซื้อขายทุกอยางจะผานเทคโนโลยีทั้งหมด 
                  3. เพิ่มประสิทธิภาพดานโลจิสติกสนั่นเปนเพราะการขนสงยังตองอาศัยการปฏิบัติไมสามารถสงผานทางออนไลน 

                  "อีกเรื่องที่มองวา PwC เปนความตองการของตลาด ก็คือการซื้อกิจการการควบรวม เพราะการทําใหธุรกิจเติบโตตามสภาพจะชาเกินไป หลายครั้งเราพบวาธุรกิจสรางรายไดของ ตัวเองใหเติบโตแบบกาวกระโดดไดโดยการซื้อกิจการ ดังนั้น M&A ในบานเราจะมีมากขึ้นเรื่อยๆ"


ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจาก : กรุงเทพธุรกิจ 20 ก.พ. 58