เมนู
ค้นหา

BAAC LIBRARY

หอสมุดธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

หน้าแรก » เกร็ดน่ารู้
เกร็ดน่ารู้

หมวดเกร็ดน่ารู้

สาระน่ารู้

เกร็ด IT

เกร็ดการตลาด

เกร็ดการเกษตร

เกร็ดสุขภาพ

เกษตรกรคนเก่ง

เกษตรนวัตกรรม




    ปัจจุบัน "ดาวเรือง" กำลังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ในแต่ละปีสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรถึง 2,000 ล้านบาท อย่างเกษตรกรชาวโคราช "สุภิญโญ ใจมั่น" วัย 49 ปี จาก ต.กลางดง อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ปลูกในพื้นที่ 20 ไร่ สร้างรายได้หักต้นทุนแล้วกำไรไร่ละ 1 แสนบาทต่อรุ่น ทำให้แต่ละปีมีรายได้สุทธิถึง 4 ล้านบาท สายพันธุ์ลูกผสมได้รับความนิยมมากที่สุด

    ในที่สุดนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) วิทยาเขตองครักษ์ จ.นครนายก "นายกฤติญา แสงภักดี" จากคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือเครฟิช หลังจากพบว่า ปัจจุบันกระแสนิยมการเลี้ยงกุ้งก้ามแดง หรือเครฟิช กำลังเป็นที่นิยมจากเกษตรกรอย่างกว้างขวางทั้ง 5 ภูมิภาคของประเทศไทย ขณะที่กรมประมงยังไม่ให้การรับรอง และไม่สนับสนุนเนื่องจากเป็นสัตว์ต่างถิ่น ที่จัดอยู่ในประเภทสัตว์ควบคุมของกรมประมงนั่นเอง

    นายอิสระ วงศ์อินทร์ ผู้จัดการฝ่ายขายและการตลาด บริษัท อีสท์ เวสท์ ซีด จำกัด ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ตราศรแดง เปิดเผยว่า ปัจจุบันมีเกษตรกรนิยมหันมาปลูกดาวเรืองมากขึ้นเนื่องจากช่วงที่ผ่านมาราคาดอกดาวเรืองขนาดจัมโบ้เคยได้ราคาถึงดอกละ 1.80 บาท ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรอย่างงดงาม

    นายอุทัย นพคุณวงศ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 (สวพ.1) เปิดเผยว่า ส้มเป็นไม้ผลเศรษฐกิจที่มีการปลูกหลายพื้นที่ของประเทศ แต่มีปัญหา คือ การทำลายของศัตรูส้ม โดยเฉพาะโรคทริสเตซ่าจากเชื้อไวรัส โรคกรีนนิ่งจากเชื้อแบคทีเรีย โรครากเน่าและโคนเน่าจากเชื้อรา ไฟทอฟธอร่า ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่ สวพ.1 จึงได้ศึกษาวิธีแก้ปัญหาตั้งแต่เริ่มปลูกโดยใช้ต้นพันธุ์หรือกิ่งพันธุ์ปลอดโรค อีกทั้งการใช้ต้นส้มที่มีระบบรากที่แข็งแรงทนทานต่อโรครากเน่า โคนเน่า

    การผลิตพริกสดและพริกเพื่อการบริโภค หรือการแปรรูปส่งโรงงานอุตสาห กรรมให้ประสบความสำเร็จ เกษตรกรควร มีการวางแผนตั้งแต่ต้นจนกระทั่งสิ้นสุดกระบวนการผลิต ที่สำคัญเกษตรกรควร คำนึงถึงมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยด้วย

    บ้านหัวอ่างพัฒนา ตำบลหนองไม้ไผ่ อำเภอหนองบุญมากจังหวัดนครราชสีมา มีเกษตรกรประกอบอาชีพปลูกมันสำปะหลังจำนวนมาก แต่ด้วยพื้นที่ที่ไม่มีแหล่งน้ำชลประทานต้องอาศัยน้ำฝน เกษตรกรปลูกแบบธรรมชาติ ผลผลิตที่ได้ก็เป็นไปตามธรรมชาติ และถ้าเจอสภาพภัยแล้งยิ่งเป็นตัวฉุดให้ผลผลิตตกต่ำลงได้