VLC
        หน้าปก
                                               สาระสังเขป
               หัวเรื่อง
              บรรณานุกรม

ต้นน้ำ

  การเลี้ยงโคขุนเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่สำหรับทั้งผู้เลี้ยงและผู้บริโภคในประเทศไทย
  ระบบต่างๆ ยังไม่เข้ารูปเข้ารอยดีนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดโคเข้าขุนและ
  การตลาด มีการเลี้ยงในลักษณะเอาอย่างกัน ผู้เลี้ยงบางรายที่ไม่ได้ศึกษาข้อมูล
  และลู่ทางให้ถ่องแท้มีโอกาสที่จะขาดทุนได้ ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงควรศึกษาในเรื่องต่างๆ
  โดยเฉพาะในเรื่องตลาดที่จะรับซื้อโคขุนและศึกษาความต้องการของตลาดว่า
  ต้องการโคชนิดใด หนังสือเล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์บ้างตามสมควร เพราะคาดว่า
  ในอนาคตข้างหน้าธุรกิจการเลี้ยงโคขุนจะสามารถทำได้อย่างกว้างขวางทุกท้องที่
  ทั่วไปอย่างแน่นอน
  - โคขุน
  - โคขุน-การเลี้ยง
  บัญญัติ วิชัยศิษฐ์ (2549).
  การเลี้ยงโคขุน. กรุงเทพฯ :
  ชมรมผู้เลี้ยงโคเนื้อแห่ง
  ประเทศไทย.

ต้นน้ำ

  ในการเลี้ยงสัตว์ จำเป็นอย่างยิ่งที่เกษตรกรต้องเอาใจใส่กับสัตว์เลี้ยงอย่างแท้จริง
  และตลอดเวลา หากขาดการสนใจเท่าที่ควร มักจะไม่ประสบความ ต้องหมั่นศึกษา
  หาความรู้เพิ่มพูนขึ้นเรื่อยๆ การเลี้ยงโคเนื้อก็เช่นกัน ก็ต้องให้ความสนใจดูแลเช่นกัน
  หนังสือเล่มนี้นอกจากจะให้รายละเอียดเกี่ยวกับโคเนื้อโดยทั่ว ๆไปแล้ว ยังได้นำ
  เสนอข้อมูลทางด้านการตลาด โดยเฉพาะแหล่งตลาดนัดโค กระบือ 100 กว่าแห่ง
  จากทั่วประเทศ ให้ท่านได้ติดตามซื้อขายและแลกเปลี่ยนความรู้กัน
  - โคขุน
  - โคขุน-การเลี้ยง
  ไชยา อุ้ยสูงเนิน (2553).
  เทคนิคและประสบการณ์
  เลี้ยงโคเนื้อ
. กรุงเทพฯ :
  ฐานเกษตรกรรม.

ต้นน้ำ

  หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมข้อมูลและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตโคเนื้ออินทรีย์
  ในประเทศไทยเพื่อเป็นแนวทางให้กับเกษตรกร หรือผู้สนใจทั่วไปนำไปใช้ในการศึกษา
  และเป็นคู่มือในการผลิตโคเนื้ออินทรีย์ ซึ่งในเล่มจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้เลี้ยงโคเนื้อ
  ผู้บริโภคเนื้อโค เเละบุคคลทั่วไป
  - โคขุน
  - โคขุน-การเลี้ยง
  สุริยะ สะวานนท์ (2556).
  การผลิตโคเนื้ออินทรีย์.
  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
      VLC
        หน้าปก
                                               สาระสังเขป
               หัวเรื่อง
              บรรณานุกรม

กลางน้ำ

  หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นประโยชน์กับผู้ที่ต้องการเรียนรู้วิธีการตัดแต่ง
  ซากโคแบบโพนยางคำ โดยเฉพาะการแบ่งชิ้นส่วนหลักที่ยึดแนวทางการ
  ตัดตามแบบฝรั่งเศส ที่อาจจะแตกต่างจากการตัดแต่งแบบออสเตรเลีย หรือ
  อเมริกา เพื่อให้เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเนื้อโคโพนยางคำ
  - โคขุน
  - โคขุน-การเลี้ยง
  มัทนา โอสถหงส์ (2551).
  คู่มือการตัดแต่งเนื้อโค
  แบบโพนยางคำ.
กรุงเทพฯ :
  อมรินทร์.

ต้นน้ำ

  โคนับเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศไทย  ซึ่งนอกจากจะให้เนื้อเพื่อบริโภคเป็นอาหารแล้ว โคยังมีประโยชน์อีกมากมาย
  - โคขุน
  - โคขุน-การเลี้ยง
  สามารถ ปรีชานันท์. (2556). การเลี้ยงโคเนื้อ. กรุงเทพฯ : เกษตรสยาม

 

กลับสู่ องค์ความรู้เรื่องโคเนื้อ
กลับสู่ หน้าหลัก